วันจันทร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2559

คู่มือเตรียมสอบ




#รวบรวมแนวข้อสอบทั้งเก่าและใหม่ที่ออกบ่อยๆพร้อมเฉลยแบบอธิบายไว้ในเล่มเดียว 200-220 หน้า
#เก็งและสรุปแนวข้อสอบมีเนื้อหาความรู้ทั่วไปและเฉพาะตำแหน่งที่สอบให้
#อ่านเข้าใจง่าย ครบ แน่น ตรงประเด็น เหมาะสำหรับคนที่ไมมีเวลาอ่านหนังสือเตรียมตัวน้อย

 (ดาวน์โหลด)แนวข้อสอบงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ทุกหน่วยงานได้ที่ :http://topsheet1.blogspot.com/
สนใจสอบถามและสั่งซื้อมาที่ : คุณนุชจรี
Tel : 090-8134236
ID Line : topsheet1
E-mail : topsheet1@gmail.com




ผลงานลูกค้า

เปิดสอบ ราชการ งานราชการ หางาน สอบราชการ พนักงานราชการ สอบบรรจุ หางาน รับสมัครงาน สอบ กพ. อบต. สอบภาค ก สอบภาค ข รับสมัครงาน ศูนย์รวมงานราชการ
ศูนย์หนังสือสอบ sheetbook เป็นที่รวบรวมแนวข้อสอบรับราชการ ทุกหน่วยงาน และนี่คือผลงาน ความคิดเห็นของลูกค้าที่ซื้อข้อสอบจากเราไป บางส่วน








1
2
3
4
5
6
7
8

บริการต่างๅ

บริการต่างๆ

บริการต่างๆ


ติดตาม Facebook

Youtube

แนวข้อสอบ คณะกรรมการการเลือกตั้ง‬ กกต




รายละเอียดเนื้อหา 
‪#‎แนวข้อสอบคณะกรรมการการเลือกตั้ง‬ กกต ประกอบด้วย 
- แนวข้อสอบ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.2550
- แนวข้อสอบกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550
- แนวข้อสอบ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง สส.และ สว. 2550
- แนวข้อสอบ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550
- แนวข้อสอบ พรบ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2545
- แนวข้อสอบ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ 2552
- แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม
- แนวข้อสอบ พ.ร.ก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
- แนวข้อสอบ ข่าว และเหตุการณ์ปัจจุบัน การเมืองเศรษฐกิจและ สังคม



แนวข้อสอบ

>>รวบรวมแนวข้อสอบทั้งเก่าและใหม่ที่ออกบ่อยๆพร้อมเฉลยแบบอธิบายไว้ในเล่มเดียว 200-220 หน้า
>>เก็งและสรุปแนวข้อสอบมีเนื้อหาความรู้ทั่วไปและเฉพาะตำแหน่งที่สอบให้
>>อ่านเข้าใจง่าย ครบ แน่น ตรงประเด็น เหมาะสำหรับคนที่ไมมีเวลาอ่านหนังสือเตรียมตัวน้อย




พนักงานการเลือกตั้ง (งานวิเทศสัมพันธ์) กกต
1 ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
3 การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน
4 ข้อสอบการปกครองระบอบประชาธิปไตย
5 แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ
6  แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมืองเศรษฐกิจ สังคม
7 การใช้ภาษาที่ถูกต้องและการเขียนหนังสือราชการภาษาอังกฤษ
8 แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ การใช้ Conversation
9 แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ การใช้ Grammar
10  แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ การใช้ Reading
11 การเตรียมตัวสอบภาค ค. และสอบสัมภาษณ์เข้าทำงาน กกต
MP3 - ภาษาอังกฤษ

******************************************************

(ดาวน์โหลด)แนวข้อสอบงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ทุกหน่วยงานได้ที่ :http://topsheet1.blogspot.com/
สนใจสอบถามและสั่งซื้อมาที่ : คุณนุชจรี
Tel : 090-8134236
ID Line : topsheet1
E-mail : topsheet1@gmail.com

*************************************************************

 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดนครพนม 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดสกลนคร 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดมุกดาหาร 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดอุบลราชธานี 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดหนองคาย 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดอำนาจเจริญ 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดหนองบัวลำภู 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดศรีสะเกษ 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดอุดรธานี 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดยโสธร 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดเลย 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดกาฬสินธุ์ 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดร้อยเอ็ด 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดมหาสารคาม 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดสุรินทร์ 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดขอนแก่น 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดบุรีรัมย์ 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดเพชรบูรณ์ 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดชัยภูมิ 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดนครราชสีมา 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดเชียงใหม่ 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัด-เชียงราย 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดแม่ฮ่องสอน 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดพะเยา 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดลำพูน 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดน่าน 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดลำปาง 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดแพร่ 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดอุตรดิตถ์ 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดตาก 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดพิษณุโลก 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดกำแพงเพชร 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดพิจิตร 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดนครสวรรค์ 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดอุทัยธานี 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดชัยนาท 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดลพบุรี 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดสิงห์บุรี 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดปราจีนบุรี 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดสระบุรี 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดนครนายก 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดอ่างทอง 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดราชบุรี 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดสุพรรณบุรี 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดอยุธยา 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดสมุทรสงคราม 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดสมุทรสาคร 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดสระแก้ว 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดตราด 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดจันทบุรี 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดระยอง 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดชลบุรี 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดฉะเชิงเทรา 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดเพชรบุรี 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดชุมพร 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดระนอง 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดสุราษฎร์ธานี 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดนครศรีธรรมราช 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดพังงา 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดกระบี่ 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดตรัง 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดพัทลุง 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดภูเก็ต 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดสงขลา 
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดนราธิวาส
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดปัตตานี
 แนวข้อสอบ# พนักงานการเลือกตั้ง #งานวิเทศสัมพันธ์# กกต#จังหวัดยะลา





ความรู้ทั่วไป

ประวัติ ความเป็นมาของ สนง.กกต.

             คณะกรรมการการเลือกตั้งแห่งราชอาณาจักรไทย (อังกฤษ: Election Commission of Thailand) หรือย่อว่า "กกต." (อังกฤษ: ECT) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีหน้าที่หลักในการควบคุมและจัดให้มีการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมาชิกวุฒิสภาสมาชิกสภาท้องถิ่น และผู้บริหารท้องถิ่น

คณะกรรมการการเลือกตั้งมีสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นสำนักงานเลขานุการ

ประวัติและโครงสร้างองค์กร
แต่เดิมการจัดการเลือกตั้งเป็นหน้าที่ของกองการเลือกตั้ง กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย ต่อมาในการเลือกตั้งครั้งที่ 16 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 รัฐบาลของนายอานันท์ ปันยารชุน ซึ่งรับผิดชอบดำเนินการเลือกตั้ง ได้ตระหนักถึงปัญหาการซื้อขายเสียงที่มีอยู่ทั่วไป จึงแต่งตั้ง "คณะกรรมการติดตามและสอดส่องดูแลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร" หรือที่รู้จักกันในชื่อ องค์กรกลาง เป็นหน่วยงานอิสระไม่มีผลประโยชน์ใดๆ กับการเลือกตั้ง ทำหน้าที่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจถึงความสำคัญของการเลือกตั้ง และตรวจสอบการเลือกตั้งให้บริสุทธิ์ยุติธรรม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง เพื่อส่งเสริมการเลือกตั้งอย่างยุติธรรมในประเทศไทย โดยคณะกรรมการการเลือกตั้งประกอบด้วยคณะกรรมการจำนวน 5 คน ซึ่งเลือกสรรโดยวุฒิสภา ดำรงตำแหน่งได้สมัยเดียวเป็นเวลา 7 ปี (ยกเว้นชุดแรก ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 3 ปี 6 เดือน ตามเงื่อนไขใน พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง)

ประธานกรรมการการเลือกตั้งเป็นผู้รักษาการตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ และกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นและเป็นนายทะเบียนพรรคการเมือง

กรรมการการเลือกตั้งต้องไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือของราชการส่วนท้องถิ่น ไม่ดำรงตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไร หรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด และไม่ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด
 
หน้าที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

ควบคุมและดำเนินการจัด หรือจัดให้มีการเลือกตั้งและการออกเสียงประชามติตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม
ออกประกาศกำหนดการทั้งหลายอันจำเป็นแก่การปฏิบัติตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ และกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
มีคำสั่งให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ ปฏิบัติการทั้งหลายอันจำเป็นตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ และกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
ออกข้อกำหนดเป็นแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งหรือการออกเสียงประชามติ
ดำเนินการแบ่งเขตเลือกตั้งสำหรับการเลือกตั้งที่ใช้วิธีการแบ่งเขตเลือกตั้ง และจัดให้มีบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สืบสวนสอบสวนเพื่อหาข้อเท็จจริงและวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาหรือข้อโต้แย้งที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ หรือกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
สั่งให้มีการเลือกตั้งใหม่หรือออกเสียงประชามติใหม่ในหน่วยเลือกตั้งใดหน่วยเลือกตั้งหนึ่งหรือทุกหน่วยเลือกตั้ง หรือสั่งให้มีการนับคะแนนใหม่ เมื่อมีหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่าการเลือกตั้งหรือการออกเสียงประชามติในหน่วยเลือกตั้งนั้น ๆ มิได้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีพิจารณาที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนด
ประกาศผลการเลือกตั้งหรือการออกเสียงประชามติ
ดำเนินการหรือประสานงานกับหน่วยราชการ ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ หรือสนับสนุนองค์การเอกชนในการให้การศึกษาแก่ประชาชนเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีและข้อสังเกตเสนอต่อรัฐสภา
ดำเนินการอื่นตามที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญอื่น หรือกฎหมายอื่นกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง
คณะกรรมการการเลือกตั้งมีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด ผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัด บุคคล คณะบุคคลหรือผู้แทนองค์การเอกชน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมอบหมายได้.

แนะนำการสอบ

คำแนะนำในการสอบคณะกรรมการการเลือกตั้ง กกต.
คณะกรรมการการเลือกตั้ง ( Election Commission of Thailand) หรือย่อว่า กกต. (ECT) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีหน้าที่หลักเป็นผู้ควบคุมและดำเนินการจัดหรือ จัดให้มีการเลือกตั้ง หรือการสรรหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณี รวมทั้งการออกเสียงประชามติ ให้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม
คณะกรรมการการเลือกตั้งมีสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นสำนักงานเลขานุการ
ในการสอบเข้าเป็นพนักงานการเลือกตั้ง ของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้สมัครจะต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของสำนักงาน ก.พ.  ก่อน  โดยการสอบจะแบ่งออกเป็น  3  ภาค คือ  ภาค ก ข และ  ค
การเตรียมตัวสอบ
ในส่วนการสอบวิชาเฉพาะตำแหน่ง ควรอ่านให้มากๆ ศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาตำแหน่งให้ดี ข้อสอบจะเป็นระเบียบข้อกฏหมาย วิชากฎหมายก็อ่านฉบับเต็ม  ท่องให้ได้ทุกมาตราอย่าไปอ่านเเต่ช้อย มันไม่ตรงนัก  ฝึกลองวิเคราะห์ข้อสอบ หาปากกาเน้นข้อความมาขีดเพื่อจำง่าย แล้วสรุป หรือท่องให้ได้  ฝึกทำข้อสอบเก่า  โดยเฉพาะในเรื่องที่เป็นจุดบกพร่องของเราทำซ้ำๆจนเข้าใจ
ควรอ่านเนื้อหาที่จะออกสอบในประกาศ และดูเวลาว่าเหลือเวลากี่วันที่จะต้องสอบ และนำเนื้อหาการสอบมาทำความเข้าใจว่าแต่ละเรื่องเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง  ค้นหาเนื้อหาแต่ละเนื้อหารวบรวมทุกสิ่งอย่างที่คิดว่าเกี่ยวข้องและจำเป็น แล้วแยกใส่ในแฟ้มงานเป็นหมวดๆ เมื่อได้เนื้อหาครบหมดแล้ววิเคราะห์ว่าแต่ละเนื้อหาใช้เวลาในการอ่านเท่าไหร่ แล้วนำผลรวมออกมาเทียบกับเวลาที่เรามีในการเตรียมตัวสอบ จากนั้นนำเวลามาถัวเฉลี่ย ให้ความหนักเบากับวิชาที่จะสอบ ว่าวิชาไหนเรื่องไหนใช้เวลาเท่าไหร่  แล้วจัดทำตารางการอ่านหนังสือเป็นช่วงเวลาอาจจะแบ่งเป็นต่อสัปดาห์ หรือ 2 สัปดาห์ แล้วนำมาแปะไว้ที่ไหนก็ได้ที่เราสังเกตเห็นได้ชัด  ในการอ่านแต่ละวิชาควรอ่านอย่างน้อย 2 รอบ รอบแรกเป็นการอ่านรวมๆ เพื่อหาว่าจุดไหนสำคัญบ้างให้นำปากกาเน้นคำ Mark ไว้ รอบที่สอง จดบันทึกสิ่งที่เรา Mark ไว้ สรุปเป็นภาษาของเราเองเพื่อเอาไว้อ่านก่อนสอบ 1 วัน  และก่อนนอนนั่งสมาธิอย่างน้อย 5 นาที สวดมนต์ด้วยก็ยิ่งดี   นอกจากนี้ควรศึกษาเส้นทางการสอบ ห้องสอบให้ดี พอถึงสนามสอบให้ตรวจดูห้องสอบหรือนั่งหน้าห้องสอบรอเลยก็ได้ เพื่อป้องกันความกังวลใจ หรือเรื่องรบกวนใจ  เมื่อใกล้จะสอบควรงดการพูดจาเรื่อยเปื่อย คุยสนุกเรื่องอื่น กับเพื่อนที่ร่วมสอบ หรือใครก็ตามอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันสมองไปจำอย่างอื่น ให้คิดแต่เรื่องสอบอย่างเดียว
นอกจากนี้ควรหาความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานด้วย  เช่น ประวัติ วิสัยทัศน์  พันธกิจ ค่านิยม ผู้บริหาร หน้าที่ความรับผิดชอบ  โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต  และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
นอกจากวิชาการที่ต้องใช้ตามวุฒิที่จะรับแล้ว ยังต้องทำการบ้านด้วยว่าหน่วยงานนั้นมีการแบ่งองค์กรยังไง ผู้บริหารเป็นใครในแต่ละระดับ แต่ละส่วนขององค์กรทำงานอะไร มีหน้าที่อะไร ตำแหน่งที่เราจะบรรจุมีหน้าที่อะไร ไปที่หน่วยงานนั้น ถ้ามีห้องสมุดหรือเอกสารเผยแพร่ควรไปอ่านให้หมด ปัจจุบันมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือตำแหน่งที่จะทำหรือไม่ อย่างไร
ส่วนในการสอบสัมภาษณ์เป็นการสอบด้วยการสนทนาหรือพูดคุยกัน ดังนั้นผู้เข้าสอบควรจะทบทวนเตรียมความรู้หรือข้อมูลในส่วนที่เป็นวิชาการหรือเนื้อหาต่าง ๆ   ที่ได้เตรียมไว้แล้วในการเตรียมตัวเข้าสอบข้อเขียน   ซึ่งอาจจะใช้เวลาครั้งละ 10 – 30 นาที   แล้วแต่กรณี หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การเตรียมตัวเข้ารับการสอบสัมภาษณ์จำเป็นต้องทบทวนความรู้ และข้อมูลบางประการมิใช่เข้าสอบโดยมิได้ทบทวนความรู้หรือข้อมูลอะไรเลย  การสัมภาษณ์เป็นการพูดคุยกัน  ไม่ต้องเครียด ต้องแสดงความจริงใจ อย่าเสแสร้ง กรรมการจะดูกริยา ลักษณะการพูดจาเป็นว่าเป็นอย่างไรบ้าง เนียมไม่เนียม  สำคัญจุดแรกที่กรรมการจะพิจารณาคือการแต่งกายของผู้เข้าสัมภาษณ์ ดูดี สะอาด ผมรัดผูกให้สวยงาม แต่งหน้าแต่พองาม  พูดให้เป็นธรรมชาติที่สุด  อย่าพาใครไปเป็นเพื่อน
ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง  โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ 1. ให้แนะนำตัวเอง   2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ   3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน

วิชาที่ใช้สอบ มีดังนี้คือ
การสอบแบ่งออกเป็น  3  ภาค  ได้แก่
1. ภาควิชาความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) (100 คะแนน)  ได้แก่ ความรู้ด้านการคิดคำนวณ  ความสามารถด้านเหตุผล  ความเข้าใจด้านภาษา และการใช้ภาษา
2. ภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (ภาค  ข ) ( 100  คะแนน )  ได้แก่  ความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติงานและความรู้ความเข้าใจในภารกิจของคณะกรรมการการเลือกตั้งและสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง   ดังนี้
- งานสารบรรณ
- กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง  เช่น  พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.2550   กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550  พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง สส.และ สว. 2550  พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550?  พรบ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2545  พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ 2552
- ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์บ้านเมืองในปัจจุบัน ด้านสังคม ด้านการเมือง การปกครอง ด้านเศรษฐกิจ
- ความรู้เฉพาะตำแหน่ง
3. ความเหมาะสมกับตำแหน่ง  (ภาค  ค )  ( 100  คะแนน )  เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่นเพื่อประเมินความเหมาะสมกับตําแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา  ประวัติการทํางานประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติการปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง
ทั้งนี้ กําหนดให้ผู้สมัครสอบ ต้องสอบความรู้ความสามารถเฉพาะตําแหน่งก่อนผ่านก่อน โดยมีคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  60  จึงจะมีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตําแหน่ง

ตำแหน่งที่สอบ
ผู้บริหาร กกต
ผอ. กกต